top of page

บทความที่น่าสนใจ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปากกาหมึกซึม

New

การเลือกน้ำหมึกที่ดีที่สุดสำหรับปากกาหมึกซึม

น้ำหมึกของปากกาหมึกซึมมีให้เลือกมากมายหลายสี หลายยี่ห้อ ราคาก็แตกต่างกันด้วย แล้วน้ำหมึกที่ดีที่สุดควรจะมีลักษณะอย่างไร บทความนี้จะบอกถึงคุณลักษณะต่างๆของน้ำหมึกที่คุณควรรู้ไว้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปากกาหมึกซึม
 
ส่วนประกอบของปากกาหมึกซึม

ปากกาหมึกซึมมีส่วนประกอบอยู่หลายชิ้น แต่ละชิ้นเรียกว่าอะไร และใช้ทำหน้าที่อะไร ไปดูกันครับ

 

เรื่องของหัวปากกา (Nib)

ความสนุกอย่างหนึ่งของการใช้ปากกาหมึกซึม คือ มีหัวปากกาให้เลือกหลายแบบครับ มีหัวปากกาแบบไหนให้เลือกบ้าง ลองไปดูกันครับ

เรื่องของ Iridium Point

เรามักจะเห็นคำว่า Iridium Point ปั๊มอยู่บนหัวปากกาหลายรุ่น หลายยี่ห้อเลยนะครับ แล้วอะไรคือ Iridium Point และหัวปากกาเหล่านั้นทำจาก Iridium จริงหรือ?

 

การปรับแต่งหัวปากกา

หากปากกาที่ซื้อมาใหม่เกิดปัญหาเขียนแล้วเส้นขาดๆหายๆบ้าง กัดกระดาษบ้าง เริ่มเขียนไม่ค่อยออก ต้องเขย่าปากกาบ้าง จะสามารถแก้ปัญหาได้อย่างไร ลองอ่านกันดูครับ

รูปทรงของปากกาหมึกซึม

ปากกาหมึกซึมที่วางขายในท้องตลาดมีให้เลือกหลายขนาด หลากรูปทรง มาดูกันว่ารูปทรงของปากกาหมึกซึมที่เป็น "พิมพ์นิยม" มีอะไรที่เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของคุณบ้าง

 

การเตรียมปากกา ก่อนเติมหมึกครั้งแรก     (วิดีโอรีวิว)

เพื่อให้ปากกาที่ได้มาใหม่ มั่นใจว่าจะทำงานได้ราบลื่น เต็มประสิทธิภาพ จึงควรมีการเตรียมปากกา ก่อนที่จะเติมหมึกครั้งแรกนะครับ ลองไปดูกันครับว่าต้องเตรียมปากกาอย่างไรกันบ้าง

 

ที่สูบหมึกราคาประหยัด สำหรับ Kaweco Sport     (วิดีโอรีวิว)

WLD ขอแนะนำที่สูบหมึกแบบ Mini International Standard Converter ราคาประหยัด ที่สำคัญสามารถหาซื้อได้ง่ายในบ้านเรา และใช้งานกับ Kaweco Sport ได้เป็นอย่างดี

 

ทำความสะอาดปลอกปากกาชั้นใน Kaweco Sport     (วิดีโอรีวิว)

ใครที่ใช้ Kaweco Sport Transparent อยู่ แล้วหมึกเข้าไปค้างอยู่ที่ปลอกปากกาชั้นใน จะเข้าใจดีเลยว่า น่าเกลียดขนาดไหน มาดูวิธีทำความสะอาดที่บริษัท Kaweco ทำวิดีโอส่งมาให้ WLD ครับ

 

ระบบเติมหมึก (Filling System)

 

ระบบเติมหมึก ของปากกาหมึกซึม

การเติมหมึกของปากกาหมึกซึมมีอยู่หลายแบบ ลองไปดูกันว่ามีอะไรบ้างครับ

 

การใช้หมึกหลอด     (วิดีโอรีวิว)

ระบบเติมหมึกที่ผู้เริ่มใช้ปากกาหมึกซึมในปัจจุบันมักจะพบเจอเป็นอย่างแรก ก็น่าจะเป็น 'หมึกหลอด' นะครับ วิดีโอชุดนี้ทำมาเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ 'หมึกหลอด' สำหรับผู้เริ่มสนใจปากกาหมึกซึมครับ

Aerometric Converter     (วิดีโอรีวิว)

แม้ว่าที่สูบหมึกแบบ Aerometric Converter จะเป็นที่สูบหมึกที่นิยมใช้กันมากในปากกายุคก่อน แต่ในปัจจุบันก็ยังมีปากกาอีกหลายรุ่น หลายยี่ห้อ ที่ยังคงใช้ที่สูบหมึกแบบนี้อยู่

Pilot CON-70     (วิดีโอรีวิว)

CON-70 เป็นที่สูบหมึกของ Pilot ซึ่งมีระบบการทำงานที่แตกต่างจากที่สูบหมึกแบบอื่นๆ ที่สูบหมึกชนิดนี้ยังจุน้ำหมึกได้มากกว่าที่สูบหมึกทั่วไปอีกด้วยครับ

Piston Filler     (วิดีโอรีวิว)

Piston Filler เป็นระบบเติมหมึกที่มักจะพบในปากกาหรูๆ ราคาแพงครับ ระบบเติมหมึกแบบนี้จะจุน้ำหมึกได้ในปริมาณมาก และยังเป็นระบบเติมหมึกที่มีความแข็งแรง ทนทานด้วยครับ

 

ถอดประกอบปากกา (Disassembly)

FPR Jaipur    (วิดีโอรีวิว)

FPR Jaipur เป็นปากกาที่ใช้ระบบเติมหมึกแบบ Piston Filler ซึ่งการถอดประกอบออกมาทำความสะอาดจะต้องมีขั้นตอนมากกว่าปากกาที่ใช้ที่สูบหมึกทั่วไปนิดหน่อยครับ

Kaweco Sport    (วิดีโอรีวิว)

Kaweco Sport เป็นปากกาหมึกซึมราคาไม่แพงนัก ที่มีขายในบ้านเราด้วยครับ ปากการุ่นนี้ขนาดเล็ก กระทัดรัด พกพาสะดวก และยังดูแลรักษาง่ายอีกด้วยครับ

Platinum Cool / Balance    (วิดีโอรีวิว)

Platinum Cool หรือ Platinum Balance เป็นปากกาหมึกซึมที่ใช้งานได้ดีมาก แถมยังมีราคาไม่แพงนักอีกด้วย การถอดประกอบก็ไม่ยุ่งยากอะไร แต่จะแตกต่างจากปากการุ่นอื่นๆอยู่บ้างนะครับ

TWSBI VAC Mini    (วิดีโอรีวิว)

TWSBI VAC Mini เป็นปากกาที่มีระบบสูบหมึกแบบ Vacuum Filler ซึ่งการถอดประกอบจะต้องมีขั้นตอนมากกว่าปากกาหมึกซึมปกตินิดหน่อย แต่ก็ทำได้ไม่ยากเลยครับ

Dip Pen

พ่อเล่าความหลัง “สงครามน้ำหมึก”

พ่อเล่าให้ผมฟังถึงประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้ปากกาคอแร้งในสมัยวัยเรียนของพ่อ เป็นเรื่องย้อนอดีตที่ตลก และมีสาระดีครับ

ปากกาคอแร้ง ตอนที่ 1 ข้อดีของปากกาคอแร้ง

"ปากกาคอแร้ง" หรือ "Dip Pen" เป็นเครื่องเขียนที่มีมาตั้งแต่เมื่อสองพันกว่าปีมาแล้ว และยังคงใช้อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆเลย ย่อมต้องมีข้อดีอะไรอยู่เป็นแน่

ปากกาคอแร้ง ตอนที่ 2 ส่วนต่างๆของหัว และด้ามปากกา

ส่วนต่างๆของด้ามปากกา และหัวปากกาคอแร้ง มีชื่อเรียกว่าอะไร และใช้ทำหน้าที่อะไร เรามาดูกัน

ปากกาคอแร้ง ตอนที่ 3 เลือกอุปกรณ์สำหรับปากกาคอแร้ง

บทความตอนนี้จะมาช่วยให้ผู้เริ่มต้นสามารถเลือกอุปกรณ์สำหรับปากกาคอแร้งได้ง่ายขึ้นครับ

ปากกาคอแร้ง ตอนที่ 4 ดูแลรักษาอุปกรณ์

การดูแลรักษาอุปกรณ์ปากกาคอแร้ง ก็ทั้งในขั้นตอนที่เพิ่งซื้อหัวปากกามา การล้างหัวปากกาทั้งก่อน และหลังการเขียน รวมไปถึงการจัดเก็บอุปกรณ์ เพื่อช่วยให้อุปกรณ์แสนรักอยู่กับคุณได้นานๆครับ

ถามมา-ตอบไป (Q&A)

ทำไมราคาปากกาจึงแตกต่างกัน

คำถามเกี่ยวกับราคาปากกา เป็นคำถามที่ผมได้รับบ่อยเป็นอันดับหนึ่ง และเป็นคำถามที่ผมไม่อยากตอบ เพราะราคาของปากกาในแต่ละร้านอาจแตกต่างกันครับ แล้วทำไมราคาของปากกาจึงไม่เท่ากันล่ะ ?

 

ซื้อปากกาหมึกซึมได้จากไหน

การจะหาซื้อปากกาหมึกซึมสักด้ามในบ้านเรานี่ไม่ใช่เรื่องง่ายๆเลยนะครับ นี่จึงเป็นอีกคำถามที่มักจะมีผู้อ่านส่งมาถึงผมครับ แล้วผมซื้อปากกามาจากที่ไหนบ้าง ไปดูกันครับ

เลือกปากกามาทำรีวิวอย่างไร

มีผู้ที่ถามมาเกี่ยวกับการเลือกปากกามาทำรีวิวของผมอยู่บ้างครับ ซึ่งก็มาจากการที่ผู้อ่านรอชมรีวิวปากกาบางรุ่น แต่ผมก็ไม่รีวิวซะที นี่คือเหตุผลในการเลือกปากกามาทำรีวิของผมครับ

รวมรูปปากกา

ผมได้รวบรวมรูปภาพของปากกาทั้งที่ทำรีวิวไว้แล้ว และยังไม่ได้ทำรีวิว พร้อมด้วยคำบรรยายสั้นๆ โดยนำไปลงไว้ใน Facebook Page ของ Write Like Dream ครับ

คอแร้ง - หมึกซึม - โรลเลอร์บอล - ลูกลื่น - หมึกเจล คืออะไร

มีความสับสนในการเรียกชื่อชนิดของปากกาในบ้านเราอยู่บ้างพอสมควร โดยเฉพาะปากกาคอแร้ง ปากกาหมึกซึม และปากกาโรลเลอร์บอล ปากกาชนิดไหนเรียกอย่างไร เพราะเหตุใด ไปดูกันครับ

บทความน่าสนใจ

ความประทับใจเกี่ยวกับปากกาหมึกซึม ที่ขอจารึกไว้

เป็นเรื่องของปากกาหมึกซึมด้ามหนึ่ง ที่ผมประทับใจถึงสาเหตุของการได้มาเป็นอย่างมากครับ

ทำไมต้อง 'ปากกาหมึกซึม'

มักจะมีคนถามผมอยู่บ่อยๆว่า ทำไมจึงชอบใช้ปากกาหมึกซึม... นี่คือคำตอบของผมครับ

เหตุผล 12 ประการ ทำไมคุณจึงควรเขียนด้วยปากกาหมึกซึม

ลองมาดูเหตุผลฮาๆของฝรั่ง ว่าทำไมจึงควรเขียนด้วยปากกาหมึกซึมกันครับ

เพราะเหตุใด ปากกาหมึกซึมจึงมียอดขายเพิ่มขึ้น

แม้ว่าปากกาหมึกซึมจะดูเหมือนล้าสมัย แต่เพราะเหตุใดยอดขายปากกาหมึกซึมในทั่วโลกจึงสูงขึ้น ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์เช่นปัจจุบัน

 

7 สิ่งที่ควรรู้ ก่อนที่จะมีเดทกับพวกคลั่งปากกา

ทุกคนย่อมมีข้ออ้างสำหรับสิ่งที่ตนเองรักเสมอ มาดูกันครับว่า คนที่ชื่นชอบปากกาหมึกซึมราคาเรือนแสน มีข้ออ้างอย่างไรกันบ้าง ส่วนตัวผมก็มีข้อแก้ตัว ที่ไม่ชอบปากการาคาแพงเหมือนกันครับ 5555

 

เหตุผล 8 ประการ ที่ควรเป็นเจ้าของปากกาหมึกซึมราคาแพง

บทความฮาๆ เกี่ยวกับคนใช้ปากกาหมึกซึมครับ ใครที่คิดจะเป็นแฟนกับคนที่ชอบปากกาอย่างบ้าคลั่งควรจะอ่านเป็นอย่างยิ่ง 55555

 

ปากกาหมึกซึม ช่วยพัฒนาลายมือเขียนได้อย่างไร

ผมสงสัยมานานแล้วครับว่า ทำไมบางโรงเรียนจึงกำหนดให้เด็กๆใช้ปากกาหมึกซึมในชั้นประถม และปากกาหมึกซึมช่วยทำให้เราเขียนสวยขึ้นได้ยังไง ลองมาดูฝรั่งคุยถึงเรื่องนี้กันครับ

 
ฉลองครบรอบ 100 ปี เผยโฉมปากกา Sheaffer รุ่น Limited Edition

บทความนี้ผมไม่ได้เขียนเองนะครับ และเป็นบทความที่ค่อนข้างจะเก่าไปแล้วสักหน่อยด้วย ผมไปพบบทความนี้มใน Blog ของพี่นังนู๋วา และเห็นว่าน่าสนใจดี เลยขออนุญาตพี่นำมารวบรวมไว้ที่ WLD นี่ครับ

 

ปากกาของบรรดาเซเลป

ลองมาดูกันครับว่า บรรดาคนดังในแวดวงต่างๆ ทั้งดาราภาพยนตร์ นักเขียน นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จใช้ปากกาอะไรกันบ้าง

 

Fountain Pen Day

กลุ่มผู้คลั่งไคล้ในปากกาหมึกซึมของต่างประเทศได้ร่วมกันกำหนด 'วันปากกาหมึกซึม' หรือ 'Fountain Pen Day' ขึ้น ในทุกวันศุกร์แรกของเดือนพฤศจิกายน มาร่วมฉลองวันปากกาหมึกซึมด้วยกันครับ

 

บอกความในใจ ผ่านลายมือเขียนกันเถอะ (National Handwriting Day)

ลายมือเขียนเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ที่เป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของเราแต่ละคนเลยนะครับ แต่น่าเสียดายที่เรากำลังสูญเสียสิ่งนี้ไป เรามาร่วมกันบอกความในใจ ผ่านลายมือเขียนของเรากันเถอะครับ

วิธีที่จะฉลอง “วันลายมือเขียนสากล” (National Handwriting Day)

เรามาร่วมกันฉลอง "วันลายมือเขียนสากล" ด้วยวิธีง่ายๆ และเป็นประโยชน์ต่อตัวคุณเองกันเถอะครับ

ให้ปากกาเป็นของขวัญกันเถอะ

ของขวัญยอดนิยมของคนไทย คงหนีไม่พ้นกระเช้าของขวัญ หรือไม่ก็พวกขนมนะครับ ปากกาหลายรุ่นมีราคาถูกกว่า และยังเป็นของขวัญที่สร้างความภาคภูมิใจให้ผู้รับด้วย ไปดูกันครับว่ามีปากการุ่นไหนบ้าง

 

ปากกาหมึกซึม สำหรับเป็นของขวัญวาเลนไทน์

การเลือกของขวัญให้ 'เพื่อนหญิง' นี่นับเป็นเรื่องที่หนักใจอย่างหนึ่งสำหรับผู้ชายอย่างเรานะครับ ไม่รู้ว่าจะเลือกอย่างไรให้ถูกใจคุณเธอดี ลองดูคำแนะนำจาก WLD ครับ อาจช่วยคุณได้

'จุดสีขาว' ของ Sheaffer    (บทความแปล)

'จุดสีขาว' ของ Sheaffer นี่ น่าจะเป็นเครื่องหมายการค้าที่เรียบง่ายที่สุดในโลกแล้วนะครับ แต่เจ้าจุดเล็กๆ สีขาวๆ จุดนี้ มีที่มาที่ไปไม่เล็กเลยครับ

bottom of page